«

»

ส.ค. 23

แผนการสอน วิชาวิทยาศาสต์ อนุบาลลำปาง

 

แผนการเรียนรู้ ที่ 1

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พืชรอบตัวเรา

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์                                                                               ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

แผนการเรียนรู้ที่ 1  เรื่องโครงสร้างของพืช                                                                       เวลา 1 ชั่วโมง

ใช้สอนเมื่อวันที่         เดือน                                 พ.ศ.

……………………………………………………………………..

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด

มาตรฐานการเรียนรู้ 

ว 1.1  : เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทำงานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ในการดำรงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต

ตัวชี้วัด

มฐ.ว 1.1(1)  สามารถบอกหน้าที่ของท่อลำเลียงและปากใบของพืชได้

สาระสำคัญ

            ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทำงานสัมพันธ์กัน

สาระการเรียนรู้

– โครงสร้างของพืช

ชิ้นงาน / ภาระงาน

–  ใบงานทดลองเรื่องหน้าที่ของรากและลำต้น

กิจกรรมการเรียนรู้

                ขั้นนำ                                     

–                   ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ

–                   ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน ทางอินเทอร์เน็ต โดยใช้ iPad

ขั้นสอน

–                   ครูจัดกลุ่มผู้เรียน กลุ่มละ 4 คน คละเพศ และความสามารถ

–                   ครูแจ้งให้นักเรียนทราบว่าผลงานของนักเรียน คือผลงานของกลุ่ม

–                   ทุกคนในกลุ่มดำเนินการ   ดังนี้

  1. อ่านใบความรู้  และใบงาน
  2.  รับอุปกรณ์ วิเคราะห์ข้อมูลการทดลอง
  3.  ทำการทดลอง ทำกิจกรรม
  4. มอบหมายสมาชิกคนใดคนหนึ่ง บันทึกผลการทดลอง ช่วยกันตอบคำถามตอบคำถาม

ขั้นสรุป

–     สรุปเรื่องรากและลำต้น

–     รายงานเรื่อง หน้าที่ของราก ลำต้น และใบ

 สื่อและแหล่งการเรียนรู้

  1. สื่อการเรียนรู้ ต้นพืชในท้องถิ่น  2-3 ชนิด
  2. แบบทดสอบก่อน

การวัดและประเมินผล

รายงานเรื่อง หน้าที่ของราก ลำต้น และใบ

วิธีการวัดและประเมินผล

–                       ตรวจรายงาน

–                       สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม

–                       สังเกตพฤติกรรมในระหว่างเรียนและการปฏิบัติกิจกรรม

 เครื่องมือวัดและประเมินผล และเกณฑ์ (ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์ )

–                       แบบประเมินรายงาน

–                       แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม

–                       แบบประเมินคุณลักษณะที่พึงประสงค์

–                       แบบประเมินสมรรถนะผู้เรียน 5 ด้าน

–                       แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ด้าน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ข้อเสนอแนะของผู้บริหารสถานศึกษา

______________________________________________________________________________

______________________________________________________________________________

____________________________________________________ __________________________

______________________________________________________________________________

______________________________________________________________________________

 

 

ลงชื่อ_________________________ (ผู้บริหารสถานศึกษา)

(                                               )  

บันทึกหลังการสอน

ผลการจัดการเรียนการสอน

______________________________________________________________________________

______________________________________________________________________________

______________________________________________________________________________

ปั­ญหา / อุปสรรค

______________________________________________________________________________

______________________________________________________________________________

______________________________________________________________________________

แนวทางแก้ไข

______________________________________________________________________________

______________________________________________________________________________

______________________________________________________________________________

 

ลงชื่อ_____________________________ (ผู้บันทึก)

                                            (                                             )

 

 

แผนการเรียนรู้ ที่ 2

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พืชรอบตัวเรา

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์                                                                               ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

แผนการเรียนรู้ที่ 2  เรื่องโครงสร้างของพืช                                                                       เวลา 1 ชั่วโมง

ใช้สอนเมื่อวันที่         เดือน                                 พ.ศ.

……………………………………………………………………..

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด

มาตรฐานการเรียนรู้ 

ว 1.1  : เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทำงานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ในการดำรงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต

ตัวชี้วัด

มฐ.ว 1.1(1)  สามารถบอกหน้าที่ของท่อลำเลียงและปากใบของพืชได้

สาระสำคัญ

            ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทำงานสัมพันธ์กัน

สาระการเรียนรู้

– โครงสร้างของพืช

ชิ้นงาน / ภาระงาน

–  ใบงานทดลองเรื่องหน้าที่ของรากและลำต้น

 

 

 กิจกรรมการเรียนรู้

                ขั้นนำ                                     

ครูให้นักเรียนดูต้นพืช 2 ชนิด  (ต้นเทียน  ต้นเฟริ์น หรือต้นอื่นๆ )  จากนั้นช่วยกันบอกโครงสร้างของต้นพืชว่ามีอะไรบ้าง และเปรียบเทียบลักษณะโครงสร้างของพืชทั้ง 2 ชนิดว่ามีโครงสร้างเหมือนกันหรือแตกต่างกันอย่างไร

ขั้นสอน

–                       ครูนำการทดลองตามกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ที่ 1 ที่ครูทำไว้ล่วงหน้ามาให้นักเรียนดูหลังจากที่แต่ละกลุ่มคาดคะเนผลแล้ว จากนั้นแต่ละกลุ่มบันทึกและสรุปผล

–                       ศึกษาจาก iPad  ใน (APP)  Focus on Plant   โดยครูคอยแนะนำ

ขั้นสรุป

ร่วมกันอภิปรายผลการค้นหา เป็นความรู้เรื่องโครงสร้างของพืชร่วมกัน และบันทึกลงในสมุดจดงาน

 สื่อและแหล่งการเรียนรู้

–                       ต้นพืชในท้องถิ่น  2-3 ชนิด

–                       เครื่อง iPad

–                       สมุดจดงาน

การวัดและประเมินผล

                               สมุดจดบันทึกเรื่องโครงสร้างของพืช

วิธีการวัดและประเมินผล

–                       ตรวจสมุดจดบันทึก

–                       สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม

–                       สังเกตพฤติกรรมในระหว่างเรียนและการปฏิบัติกิจกรรม

 

เครื่องมือวัดและประเมินผล และเกณฑ์ (ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์ )

–                       แบบประเมินจดบันทึก

–                       แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม

–                       แบบประเมินคุณลักษณะที่พึงประสงค์

–                       แบบประเมินสมรรถนะผู้เรียน 5 ด้าน

–                       แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ด้าน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ข้อเสนอแนะของผู้บริหารสถานศึกษา

______________________________________________________________________________

______________________________________________________________________________

____________________________________________________ __________________________

______________________________________________________________________________

______________________________________________________________________________

 

 

ลงชื่อ_________________________ (ผู้บริหารสถานศึกษา)

(                                             )  

บันทึกหลังการสอน

ผลการจัดการเรียนการสอน

______________________________________________________________________________

______________________________________________________________________________

______________________________________________________________________________

ปั­ญหา / อุปสรรค

______________________________________________________________________________

______________________________________________________________________________

______________________________________________________________________________

แนวทางแก้ไข

______________________________________________________________________________

______________________________________________________________________________

______________________________________________________________________________

 

ลงชื่อ_____________________________ (ผู้บันทึก)

                                            (                                                    )

 

 

แผนการเรียนรู้ ที่ 3

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พืชรอบตัวเรา

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์                                                                               ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

แผนการเรียนรู้ที่ 2  เรื่องโครงสร้างของพืช                                                                       เวลา 1 ชั่วโมง

ใช้สอนเมื่อวันที่         เดือน                                 พ.ศ.

……………………………………………………………………..

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด

มาตรฐานการเรียนรู้ 

ว 1.1  : เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทำงานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ในการดำรงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต

ตัวชี้วัด

มฐ.ว 1.1(1)  สามารถบอกหน้าที่ของท่อลำเลียงและปากใบของพืชได้

สาระสำคัญ

            ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทำงานสัมพันธ์กัน

สาระการเรียนรู้

– โครงสร้างของพืช

ชิ้นงาน / ภาระงาน

–  ใบงานทดลองเรื่องหน้าที่ของรากและลำต้น

 

กิจกรรมการเรียนรู้

                ขั้นนำ

                                ทบทวนความรู้ที่ได้จาก       (APP)  Focus on Plant

ขั้นสอน

–                   ให้แต่ละกลุ่มนำเสนอผลการทดลอง ซึ่งควรได้ผลดังนี้ ก่อนแช่ต้นเทียนในน้ำสีแดง ลำต้นของต้นเทียนมีสีเขียวใส แต่เมื่อแช่ต้นเทียนลงในน้ำสีแดงทิ้งไว้ 30 นาที รากของต้นเทียนเริ่มมีสีแดง  และลำต้นมีสีแดงด้วย

–                   นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่า เมื่อเฉือนลำต้นตามแนวขวางแล้วสังเกตเห็นอะไร และสิ่งนั้นมาจากไหน

–                   นักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปผลการทำกิจกรรมได้ว่า รากทำหน้าที่ดูดน้ำและธาตุอาหารขึ้นสู่ลำต้น ส่วนลำต้นมีหน้าที่เป็นทางลำเลียงน้ำและธาตุอาหารไปสู่ส่วนต่างๆ ของพืช

ขั้นสรุป

–                   ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปได้ว่า ภายในลำต้นของพืชจะมีท่อลำเลียงเพื่อลำเลียงน้ำและอาหาร

–                   ครูให้นักเรียนอ่านหนังสือ (หน้า 7) และทำกิจกรรมพัฒนาการคิดข้อ 2 (หน้า 14)

–                   ครูชมเชยผู้เรียนที่ร่วมมือกันทำกิจกรรมทดลอง และอธิบายเพิ่มเติมในสิ่งที่นักเรียนยังไม่เข้าใจ

–                   ครูตรวจการบันทึกข้อมูลและผลการทดลอง ตามกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ที่ 1-2 ของผู้เรียนแต่ละกลุ่ม และชมเชยกลุ่มที่ทำได้ดีที่สุด และให้กำลังใจ และคำแนะนำกับกลุ่มที่ต้องปรับปรุง

–                   ทดสอบหลังเรียนใน iPad

สื่อและแหล่งการเรียนรู้

–                   ต้นพืชในท้องถิ่น  2-3 ชนิด

–                   เครื่อง iPad

–                   บันทึกการทดลอง

การวัดและประเมินผล

–                   บันทึกผลการทดลอง

–                   แบบทดสอบหลังเรียน

วิธีการวัดและประเมินผล

–                   ตรวจสมุดจดบันทึก

–                   ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน

–                   สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม

–                   สังเกตพฤติกรรมในระหว่างเรียนและการปฏิบัติกิจกรรม

เครื่องมือวัดและประเมินผล และเกณฑ์ (ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์ )

–                   แบบประเมินจดบันทึก

–                   แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม 

–                    แบบประเมินคุณลักษณะที่พึงประสงค์

–                   แบบประเมินสมรรถนะผู้เรียน 5 ด้าน

–                   แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ด้าน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ข้อเสนอแนะของผู้บริหารสถานศึกษา

______________________________________________________________________________

______________________________________________________________________________

____________________________________________________ __________________________

______________________________________________________________________________

______________________________________________________________________________

 

 

ลงชื่อ_________________________ (ผู้บริหารสถานศึกษา)

(                                                   )  

บันทึกหลังการสอน

ผลการจัดการเรียนการสอน

______________________________________________________________________________

______________________________________________________________________________

______________________________________________________________________________

ปั­ญหา / อุปสรรค

______________________________________________________________________________

______________________________________________________________________________

______________________________________________________________________________

แนวทางแก้ไข

______________________________________________________________________________

______________________________________________________________________________

______________________________________________________________________________

 

ลงชื่อ_____________________________ (ผู้บันทึก)

                                            (                                                )