Archive for the ‘คณิตศาสตร์’ Category

PostHeaderIcon แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
หน่วยการเรียนรู้ เรขาคณิต เวลา 12 ชั่วโมง
เรื่อง ทดสอบก่อนเรียน สอนวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2556

—————————————————————————————————–สาระสำคัญ
รังสีและส่วนของเส้นตรงสองเส้นที่มีจุดปลายเป็นจุดเดียวกัน เรียกว่า มุม เส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรงสองเส้นที่มีระยะห่างเท่ากันจะเรียกว่า เส้นขนาน รูปสี่เหลี่ยมมุมฉากและรูปวงกลมเป็นรูปเรขาคณิตสองมิติที่มีแกนสมมาตร สามารถนำมาประดิษฐ์หรือออกแบบลวดลายต่างๆ ซึ่งบางลวดลายอาจเป็นแบบรูปที่บอกความ สัมพันธ์ได้

มาตรฐาน ค 3.1 อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมาย
ทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ทาง
คณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์
ตัวชี้วัด
ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม

จุดประสงค์การเรียนรู้
เพื่อให้ทราบความรู้พื้นฐานคณิตศาสตร์ เรื่อง เรขาคณิต ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

สาระการเรียนรู้
– ส่วนของระนาบ จุด ส่วนของเส้นตรง เส้นตรง และรังสี
– มุม รูสี่เหลี่ยมมุมฉาก เส้นทแยงมุม เส้นขนาน สรูปวงกลม แกนสมมาตร การประดิษฐ์ลวดลายโดยใช้รูปเรขาคณิต

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. นักเรียนทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง เรขาคณิตก่อนเรียนจำนวน 10 ข้อ
2. เมื่อนักเรียนทำแบบทดสอบเสร็จนำมาส่งคุณครูเพื่อตรวจนับคะแนนก่อนเรียน เพื่อบันทึกผลการสอบเก็บไว้

สื่อ/แหล่งเรียนรู้

วิธีการวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผลด้าน การประเมิน
วิธีการวัดผล เครื่องมือ เกณฑ์ผ่านประเมิน
เพื่อให้ทราบความรู้พื้นฐานคณิตศาสตร์เรื่อง เรขาคณิต (K)
ทดสอบ แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียน นักเรียนทำได้ระดับดีขึ้นไป

ความคิดเห็นของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
ลงชื่อ
(นายทวีสิน แก้วทอง)
ตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านระโนต(ธัญเจริญ)

บันทึกผลหลังสอน
ด้านความรู้ (K)
ผลการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ โดยใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องเรขาคณิต ก่อนเรียนคิดเป็นร้อยละ 44.24 และมีระดับคุณภาพดังนี้
จำนวนนักเรียนทั้งหมด 33 คน
ระดับดีมาก จำนวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0.00
ระดับดี จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 6.06
ระดับพอใช้ จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 33.33
ระดับปรับปรุง จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 60.61
ปัญหา/อุปสรรค –
ข้อเสนอแนะ –

ลงชื่อ ผู้ประเมิน
( นางสุนันทา ทองด้วง)

แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง เรขาคณิต
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 10 ข้อ
……………………………………………………………..
คำชี้แจง เขียนเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคำตอบในข้อที่ถูกต้องที่สุด
1. ข้อใดคือจุดยอดมุม
ก. จุด ก
ข. จุด ค
ค. จุด ง
ง. จุด ข
2. จาก ข้อ 1 เขียนสัญลักษณ์แทนมุมได้อย่างไร
ก. กขค ข. ขกค
ค. คกข ง. กคข
3. มุมในข้อใดมีขนาดเล็กที่สุด
ก. มุมตรง ข. มุมป้าน
ค. มุมฉาก ง. มุมแหลม
4. สิ่งของใดมีบางส่วนเป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ก. ลูกบอล ข. กรอบรูป
ค. ล้อรถ ง. กรรไกร
5. ข้อใดคือส่วนประกอบของรูปวงกลม
ก. เส้นรอบวง จุด รัศมี เส้นผ่านศูนย์กลาง
ข. เส้นรอบวง จุดยอดมุม รัศมี เส้นผ่านศูนย์กลาง
ค. เส้นรอบวง จุดศูนย์กลาง รัศมี เส้นผ่านศูนย์กลาง
ง. เส้นวงกลม จุดศูนย์กลาง รัศมี เส้นผ่านศูนย์กลาง
6. สิ่งใด ไม่เกิด กับเส้นขนานอย่างแน่นอน
ก. เส้นตรงสองเส้นอยู่บนระนาบเดียวกัน
ข. เส้นตรงสองเส้นมีระยะห่างเท่ากันเสมอ
ค. เส้นตรงสองเส้นสามารถมาบรรจบกันได้
ง. เส้นตรงสองเส้นไม่สามารถมาบรรจบกันได้
7. รูปเรขาคณิตใดมีแกนสมมาตรมากที่สุด
ก. รูปสามเหลี่ยม ข. รูปวงกลม
ค. รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ง. รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส
8. จากภาพมีรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากกี่รูป
ก. 11 รูป
ข. 10 รูป
ค. 9 รูป
ง. 8 รูป
9.  ….. รูปต่อไปคือรูปใด
ก.  ข. 
ค. ง.
10. รูปใดคือรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า

ก. ข.

ค. ง.

เฉลย
1. ง 2. ก 3. ง 4. ข 5. ค 6. ค 7. ข 8. ก 9. ข 10. ก
สรุปคะแนนการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ ก่อนเรียน
เรื่อง เรขาคณิต แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
…………………………………………………………………………..
ระดับคุณภาพ
ได้คะแนน 9-10 ระดับดีมาก
ได้คะแนน 7-8 ระดับดี
ได้คะแนน 5-6 ระดับพอใช้
ได้คะแนน 1 – 4 ระดับปรับปรุง

ที่ ชื่อ-สกุล คะแนนก่อนเรียน (10) ระดับคุณภาพ
1. เด็กชายอนุชา สุวรรณชะนะ 6 พอใช้
2. เด็กหญิงอนงค์นาถ เหล็งหนูดำ 4 ปรับปรุง
3. เด็กหญิงเนตรชนก ชูหนู 3 ปรับปรุง
4. เด็กชายรัชนันท์ สุวรรณ 3 ปรับปรุง
5. เด็กชายปฏิพล โอทอง 4 ปรับปรุง
6. เด็กหญิงนฤภร ชูปล้อง 4 ปรับปรุง
7. เด็กหญิงณัฐณิชา จันทรัตน์ 5 พอใช้
8. เด็กหญิงศศิวิมล โม่งทุ่น 3 ปรับปรุง
9. เด็กชายคมกริช รุ่งรัศมีวิริยะ 5 พอใช้
10 เด็กหญิงศิขรินทร์ ทองแท้ 3 ปรับปรุง
11. เด็กหญิงณัฐณิชา พงค์พิทักษ์ 3 ปรับปรุง
12. เด็กหญิงอภิชญา บุญจันทร์ 4 ปรับปรุง
13. เด็กหญิงชลดา เจริญศรี 5 พอใช้
14. เด็กหญิงวรนิษฐา รักหมอ 4 ปรับปรุง
15. เด็กหญิงศุภาพิชญ์ พืชมงคล 7 ดี
16. เด็กหญิงวรวลัญช์ เทมพัฒน์ 4 ปรับปรุง
17. เด็กหญิงณิชาภัทร ป้องโล่ห์ 4 ปรับปรุง
18. เด็กชายกานติ สังข์พงศ์ 7 ดี
19. เด็กหญิงปัจฉมล หนูสังข์ 6 พอใช้
ที่ ชื่อ-สกุล คะแนนก่อนเรียน (30) ระดับคุณภาพ
20. เด็กหญิงนภาลัย แซ่ลิ่ม 5 พอใช้
21. เด็กชายณัฏฐากร เรืองศรี 5 พอใช้
22. เด็กหญิงเบญญาภา หยูทอง 4 ปรับปรุง
23. เด็กหญิงกุลชา สายช่วย 5 พอใช้
24. เด็กหญิงปาณิสรา ภักดี 4 ปรับปรุง
25. เด็กหญิงปุณยวีร์ สุขทอง 4 ปรับปรุง
26. เด็กหญิงฑิตฐิตา พลฑา 4 ปรับปรุง
27. เด็กหญิงกนกนาถ สุขสว่าง 4 ปรับปรุง
28. เด็กหญิงรัตนวลี ภักดีไพบูลย์สกุล 5 พอใช้
29. เด็กหญิงศุภิสรา อินทรา 4 ปรับปรุง
30. เด็กหญิงชนกนาถ ปิ่นโพธิ์ 4 ปรับปรุง
31. เด็กชายภูรินท์ จันทร์มา 5 พอใช้
32. เด็กชายภูมินทร์ สังข์ขาว 5 พอใช้
33 เด็กหญิงพัตรพิมล โปจีน 4 ปรับปรุง
รวม 146
เฉลี่ย 4.42
ร้อยละ 44.24

ลงชื่อ ผู้ประเมิน
(นางสุนันทา ทองด้วง)

——————————————————————————————————

สาระสำคัญ
มุมเกิดจากรังสีหรือส่วนของเส้นตรงสองเส้นที่มีจุดปลายเป็นจุดเดียวกัน ซึ่งประกอบด้วยจุดยอดมุมและแขนของมุม

มาตรฐาน ค 3.1 อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมาย
ทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์
และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ทางคณิตศาสตร์

ตัวชี้วัด
บอกชนิดของมุม ชื่อมุม ส่วนประกอบของมุม

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เมื่อกำหนดชื่อมุมสามารถบอกส่วนประกอบของมุมที่กำหนดให้ได้(K)
2. ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมายและ
การนำเสนอได้ (P)
3. นักเรียนใฝ่รู้ใฝ่เรียน มุ่งมั่นในการทำงานและมีระเบียบวินัย (A)

สาระการเรียนรู้
ส่วนประกอบของมุม

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด
คำถาม มุมเกิดจากอะไร (เกิดจากรังสีหรือส่วนของเส้นตรงสองเส้นที่มี
จุดปลายเป็นจุดเดียวกัน)
2. ครูให้นักเรียนดูรูปรังสีและส่วนของเส้นตรง แล้วให้นักเรียนช่วยกันบอกความแตกต่างของส่วนของเส้นตรงกับรังสี
3. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละกันตามความสามารถ คือ เก่ง ปานกลางค่อนข้างเก่ง ปานกลางค่อนข้างอ่อน และอ่อน แล้วให้แต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของมุม จากหนังสือเรียน
4. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายแลกเปลี่ยนความรู้ ความเข้าใจกัน
5. ครูติดรูปมุมที่เกิดจากรังสีสองเส้น และรูปมุมที่เกิดจาก ส่วนของเส้นตรงสองเส้นบนกระดาน แล้วให้นักเรียนร่วมกันบอกความแตกต่าง
6. ครูให้นักเรียนดูตัวอย่างรูปมุมที่เกิดจากรังสีและรูปมุมที่เกิดจากส่วนของเส้นตรง แล้วช่วยกันบอกส่วนประกอบของมุมว่า จุดยอดมุมคือจุดใด และแขนของมุมคืออะไร
7. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด
รังสีและส่วนของเส้นตรงต่างกันอย่างไร(เส้นตรงมีจุดปลายทั้งสองข้าง เส้นตรงมีลูกศรทั้งสองข้างแสดงว่าต่อไปได้ไม่มีที่สิ้นสุด รังสีมีจุดปลาย 1 จุด และปลายอีกข้างมีหัวลูกศร แสดงว่าต่อออกไปได้ไม่มีที่สิ้นสุด)
8. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับส่วนประกอบของมุม
9. นักเรียนทุกคนทำใบงานที่ 3.1 เรื่อง ส่วนประกอบของมุม
10. ครูให้นักเรียน 2-3 คน เฉลยคำตอบจากใบงานหน้าชั้นเรียน ครูชมเชยนักเรียนที่ทำได้ถูกต้องและให้กำลังใจนักเรียนที่ยังมีข้อบกพร่องอยู่
11. ครูประเมินความรู้ความเข้าใจของนักเรียนจากการทำใบงานที่ 3.1
12. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด
จุดยอดมุมมีลักษณะอย่างไร (มุมเกิดจากรังสีสองเส้นที่มีจุดปลายเป็นจุดเดียวกัน)
สื่อและแหล่งเรียนรู้
1. แบบฝึกทักษะที่ 3.1ส่วนประกอบของมุม
2. กระดาษ A 4
3. บัตรภาพมุม

วิธีการวัดและประเมินผล

การวัดและประเมินผลด้าน การประเมิน
วิธีการวัดผล เครื่องมือ เกณฑ์ผ่านประเมิน
1. เมื่อกำหนดชื่อมุมสามารถบอกส่วนประกอบของมุมที่กำหนดให้ได้(K)

ตรวจผลงานจากชิ้นงาน

กิจกรรมจากแบบฝึกทักษะที่3.1
นักเรียนทำได้ระดับดีขึ้นไป

2. ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมายและ
การนำเสนอได้ (P)
สังเกตพฤติกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมด้านกระบวนการ นักเรียนทำได้ระดับดีขึ้นไป
3. นักเรียนใฝ่รู้ใฝ่เรียน มุ่งมั่นในการทำงานและมีระเบียบวินัย (A) สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ นักเรียนทำได้ระดับดีขึ้นไป

ความคิดเห็นของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ
(นายทวีสิน แก้วทอง)
ตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านระโนต(ธัญเจริญ)

บันทึกผลหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ด้านความรู้ (K)
1. เมื่อกำหนดชื่อมุมสามารถบอกส่วนประกอบของมุมที่กำหนดให้ได้(K)
นักเรียนทั้งหมดจำนวน 33 คน
ระดับดีมาก จำนวน 43 คน คิดเป็นร้อยละ 100
ระดับดี จำนวน – คน คิดเป็นร้อยละ –
ระดับพอใช้ จำนวน – คน คิดเป็นร้อยละ –
ระดับปรับปรุง จำนวน – คน คิดเป็นร้อยละ –
ด้านทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ (P)
นักเรียนสามารถแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การนำเสนอ และการเชื่อมโยงความรู้ได้ดี
นักเรียนทั้งหมดจำนวน 43 คน
ระดับดีมาก จำนวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 76.74
ระดับดี จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 23.26
ระดับพอใช้ จำนวน – คน คิดเป็นร้อยละ –
ระดับปรับปรุง จำนวน – คน คิดเป็นร้อยละ –
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
นักเรียนมีพฤติกรรมใฝ่เรียนรู้ มีระเบียบวินัย มุ่งมั่นในการทำงาน
นักเรียนทั้งหมดจำนวน 43 คน
ระดับดีมาก จำนวน 43 คน คิดเป็นร้อยละ 100
ระดับดี จำนวน – คน คิดเป็นร้อยละ –
ระดับพอใช้ จำนวน – คน คิดเป็นร้อยละ –
ระดับปรับปรุง จำนวน – คน คิดเป็นร้อยละ –
ปัญหาและอุปสรรค –
แนวทางแก้ไขและพัฒนา –

ลงชื่อ ผู้ประเมิน
(นางสุนันทา ทองด้วง)

ผลการประเมินด้านความรู้ความเข้าใจ (K)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แบบฝึกทักษะชุดที่ 1 การเขียนและอ่านเศษส่วน
1. เมื่อกำหนดชื่อมุมสามารถบอกส่วนประกอบของมุมที่กำหนดให้ได้(K)
………………………………………………………………….
คำชี้แจง ผู้สอนประเมินจากการตรวจผลงานของผู้เรียนขณะปฏิบัติกิจกรรมเป็นรายบุคคลโดย
ให้ระดับคะแนนลงในตารางที่ตรงกับของผู้เรียน
เกณฑ์การให้คะแนน
แบบฝึกทักษะที่ 3.1 จำนวน 3 ข้อ ข้อย่อยละ4 ข้อ ข้อย่อยละ 1 คะแนน รวม 12 คะแนน
ระดับคุณภาพ ได้คะแนน 10-12 อยู่ในระดับ ดีมาก
คะแนน 8-9 อยู่ในระดับ ดี
คะแนน 6-7 อยู่ในระดับ พอใช้
คะแนนต่ำกว่า 6 อยู่ในระดับ ต้องปรับปรุง

เลขที่ รายการประเมินด้านความรู้ความเข้าใจ รวม
12 ระดับคุณภาพ
แบบฝึกทักษะ3.1(12)
1 12 12 ดีมาก
2 12 12 ดีมาก
3 12 12 ดีมาก
4 12 12 ดีมาก
5 12 12 ดีมาก
6 10 10 ดีมาก
7 12 12 ดีมาก
8 12 12 ดีมาก
9 12 12 ดีมาก
10 12 12 ดีมาก
11 12 12 ดีมาก
12 12 12 ดีมาก
13 12 12 ดีมาก
14 12 12 ดีมาก
15 12 12 ดีมาก
เลขที่ รายการประเมินด้านความรู้ความเข้าใจ รวม
12 ระดับคุณภาพ
แบบฝึกทักษะ2.1(12)
16 12 12 ดีมาก
17 11 11 ดีมาก
18 12 12 ดีมาก
19 12 12 ดีมาก
20 12 12 ดีมาก
21 12 12 ดีมาก
22 12 12 ดีมาก
23 12 12 ดีมาก
24 12 12 ดีมาก
25 12 12 ดีมาก
26 12 12 ดีมาก
27 12 12 ดีมาก
28 12 12 ดีมาก
29 12 12 ดีมาก
30 12 12 ดีมาก
31 12 12 ดีมาก
32 12 12 ดีมาก
33 12 12 ดีมาก
รวม
เฉลี่ย
ร้อยละ

นักเรียนทั้งหมด 33 คน ผ่านเกณฑ์การประเมิน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 100

ลงชื่อ ผู้ประเมิน
(นางสุนันทา ทองด้วง)

แบบสังเกตพฤติกรรมด้านกระบวนการ (P)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แบบฝึกทักษะชุดที่ 1 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
(การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การนำเสนอ และการเชื่อมโยงความรู้)
…………………………………………………………
คำชี้แจง ผู้สอนประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนในขณะปฏิบัติกิจกรรมเป็นรายบุคคล
โดยให้ระดับคะแนนลงในตารางที่ตรงกับพฤติกรรมของผู้เรียน

เกณฑ์การให้คะแนน
ระดับคะแนน 3 แสดงพฤติกรรมให้เห็นมาก
ระดับคะแนน 2 แสดงพฤติกรรมให้เห็นปานกลาง
ระดับคะแนน 1 แสดงพฤติกรรมให้เห็นน้อย
ระดับคุณภาพ ได้คะแนน10-12 ระดับดีมาก , 8-9 ระดับดี, 6-7 ระดับพอใช้ ,ต่ำกว่า 6ระดับปรับปรุง

เลขที่

ชื่อ-สกุล รายการประเมินด้านทักษะกระบวนการ

รวม
(12)

ระดับคุณภาพ
การแก้ปัญหา (3) การให้เหตุผล (3) การสื่อสาร/การนำเสนอ (3) การเชื่อมโยงความรู้(3)
1. เด็กชายอนุชา สุวรรณชะนะ 2 3 2 2 9 ดี
2. เด็กหญิงอนงค์นาถ เหล็งหนูดำ 2 2 3 2 9 ดี
3. เด็กหญิงเนตรชนก ชูหนู 3 2 2 3 10 ดีมาก
4. เด็กชายรัชนันท์ สุวรรณ 3 3 2 3 11 ดีมาก
5. เด็กชายปฏิพล โอทอง 3 2 3 3 11 ดีมาก
6. เด็กหญิงนฤภร ชูปล้อง 2 2 3 3 10 ดีมาก
7. เด็กหญิงณัฐณิชา จันทรัตน์ 2 2 2 3 9 ดี
8. เด็กหญิงศศิวิมล โม่งทุ่น 3 3 2 3 11 ดีมาก
9. เด็กชายคมกริช รุ่งรัศมีวิริยะ 3 2 3 3 11 ดีมาก
10. เด็กหญิงศิขรินทร์ ทองแท้ 3 3 2 3 11 ดีมาก
11. เด็กหญิงณัฐณิชา พงค์พิทักษ์ 2 2 2 3 9 ดี
12. เด็กหญิงอภิชญา บุญจันทร์ 2 3 2 3 10 ดีมาก

เลขที่

ชื่อ-สกุล รายการประเมินด้านทักษะกระบวนการ

รวม
(12)

ระดับคุณภาพ
การแก้ปัญหา (3) การให้เหตุผล (3) การสื่อสาร/การนำเสนอ (3) การเชื่อมโยงความรู้(3)
13. เด็กหญิงชลดา เจริญศรี 2 3 2 3 10 ดีมาก
14. เด็กหญิงวรนิษฐา รักหมอ 3 2 3 2 10 ดีมาก
15. เด็กหญิงศุภาพิชญ์ พืชมงคล 3 2 3 2 10 ดีมาก
16. เด็กหญิงวรวลัญช์ เทมพัฒน์ 3 2 3 2 10 ดีมาก
17. เด็กหญิงณิชาภัทร ป้องโล่ห์ 2 2 2 3 9 ดี
18. เด็กชายกานติ สังข์พงศ์ 3 3 2 3 11 ดีมาก
19. เด็กหญิงปัจฉมล หนูสังข์ 3 2 3 2 10 ดีมาก
20. เด็กหญิงนภาลัย แซ่ลิ่ม 3 2 3 2 10 ดีมาก
21. เด็กชายณัฏฐากร เรืองศรี 3 2 3 3 11 ดีมาก
22. เด็กหญิงเบญญาภา หยูทอง 3 2 3 3 10 ดีมาก
23. เด็กหญิงกุลชา สายช่วย 3 2 3 2 10 ดีมาก
24. เด็กหญิงปาณิสรา ภักดี 2 2 2 3 9 ดี
25. เด็กหญิงปุณยวีร์ สุขทอง 2 2 3 2 9 ดี
26. เด็กหญิงฑิตฐิตา พลฑา 3 2 3 2 10 ดีมาก
27. เด็กหญิงกนกนาถ สุขสว่าง 3 2 3 3 11 ดีมาก
28. เด็กหญิงรัตนวลี ภักดีไพบูลย์สกุล 3 2 3 2 10 ดีมาก
29. เด็กหญิงศุภิสรา อินทรา 3 2 2 3 10 ดีมาก
30. เด็กหญิงชนกนาถ ปิ่นโพธิ์ 3 2 3 2 10 ดีมาก
31. เด็กชายภูรินท์ จันทร์มา 2 2 2 2 8 ดี
32. เด็กชายภูมินทร์ สังข์ขาว 3 2 3 2 10 ดีมาก
33. เด็กหญิงพัตรพิมล โปจีน 2 2 2 2 8 ดี
รวม
เฉลี่ย
ร้อยละ

นักเรียนทั้งหมด 33 คน ผ่านเกณฑ์การประเมิน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 100

ลงชื่อ ผู้ประเมิน
( นางสุนันทา ทองด้วง)